บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

บทความต่างประเทศฐานข้อมูล ERIC

  เรื่องที่ 1 The Effects of Principals’ Digital Leadership on Teachers’ Digital Teaching during the Covid-19 Pandemic in Malaysia   Abstract           Education involving digital technology is the latest transformation of the education system, especially during the occurrence of the COVID - 19 pandemic . The Malaysian Ministry of Education ( MOE ) has taken the initiative to spearhead efforts to develop the skills and potential of students in the use of digital technology . The main purpose of this study was to identify the level of digital leadership displayed by principals, the level of teachers' digital teaching practices and the elements of principals' digital leadership that predict the level of teachers' digital teaching . About 400 secondary school teachers in Hulu Langat District, Selangor were involved in this study . The findings of this study show that the level of digital leadership displayed by principals and teachers ’ digital teaching practice are both a

Digital transformation as distributed leadership: Firing the change agent

 Digital transformation as distributed leadership:Firing the change agent Abstract Literature has tended to describe digital transformation (the implementation and use of new digital technologies to enable major business improvements) as a strategic and rational process with clear roles, the most important one being a Chief digital officer or Chief digital information officer, who is often an individual appointed as a temporary position to undertake the digital transformation. This study has testified to a less rational, more emergent process, where the digital transformation happens without a Chief digital officer and instead is managed conjoint in the top management team. Based on this study, it is argued that digital transformation can be understood as distributed leadership, which enables a more holistic approach to mobilizing and sustaining digital transformation. วรรณคดีมีแนวโน้มที่จะอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (การใช้งานและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใหม่เพื่อให้สามารถปรับปรุงธุรกิ

งาน work 4

ณรงค์ศักดิ์  กำเนิดทอง ธีระพงษ์  สมเขาใหญ่ และวีระยุทธ  ชาตะกาญจน์. ( 2560 ). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2 . วารสารนาคบุตรปริทรรศน์. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 256 0, หน้า 43 – 52. บทคัดย่อ          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2  และ 2)เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จำนวน 320 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นและวิธีการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดสำรวจรายการและมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t–test วิ

การบริหารสถานศึกษาเพื่อความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2

เทิดพงษ์  ศรีวิเศษ และเอกชัย  กี่สุขพันธ์ . (2557). การบริหารสถานศึกษาเพื่อความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 583-597. วารสาร บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาเพื่อความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้บริหารและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 ประชากรที่ใช้ในงานวิจัยคือ ผู้บริหารสถานศึกษา 73 คน และครู 323 คน รวม 396 คน จาก15 โรงเรียน ในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การบริหารสถานศึกษาเพื่อความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผู้บริหารและครูมีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากโดยเรียงลำดับดังนี้ การส่งเสริมทรัพยากรในการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมแลก

บทคัดย่อ

ยิ้มสยาม  

การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านนักศึกษาด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

  ชื่อวิทยานิพนธ์ การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านนักศึกษาด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร The Development of A Computerized Student InformationSystem For Academic Administration of Faculty ofEducation, Silpakorn University ชื่อนิสิต วัชนีย์ เชาว์ดำรงค์ Wachanee Shoudumrong ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ ดร ปทีป เมธาคุณวุฒิ Asso.Prof.Dr.Pateep Methakunavudhi ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (อุดมศึกษา) Master. Education (Higher Education) ปีที่จบการศึกษา 2534 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศด้านนักศึกษา เพื่อการบริหารงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และเพื่อประเมินประสิทธิผลของระบบสารสนเทศด้านนักศึกษาเพื่อการบริหารงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาระบบสารสนเทศด้านนักศึกษาเพื่อการบริหารงานวิชาการของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยใช้ระบบคอมพิวเต

การประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5

  Title การประกันคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 Title Alternative EDUCATION QUALITY ASSURANCE IN THE SCHOOLS UNDER THE MUNICIPALITY REGION 5 Creator Name:   วินัย เดชรัตนสุวรรณ์ Organization :  โรงเรียนเทศบาล 4 (บ้านชุกกุ่ม) จ.กาญจนบุรี Subject ThaSH:   โรงเรียนสังกัดเทศบาล  --  การประกันคุณภาพการศึกษา Classification :.DDC:   371.201 ThaSH:   โรงเรียนสังกัดเทศบาล  --  การประกันคุณภาพการศึกษา  --  วิจัย Description Abstract:  ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 เปรียบเทียบผลการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 จำแนกตามขนาดของโรงเรียนและศึกษาปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสังกัดเทศบาล เขตการศึกษา 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียนจำนวน 54 คน และจากพนักงานครู เทศบาลผู้สอนจำนวน 306 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าสถิติ ที่ใช้ในการวิเคร